Lecture


ที่ 2  พัว็บไต์

          การจัดระบบโครงสร้างข้อมูล คือการพิจารณาว่า เว็บควรจะมีข้อมูลและการทำงานใดบ้าง โดยเริ่มจากการกำหนดเป้าหมาย กลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย เนื้อหาและการใช้งานที่จำเป็น นำมาจัดกลุ่มให้เป็นระบบเป็นพื้นฐานในการออกแบบเว็บไซต์ที่ดี มีทั้งหมด 5 Phase 


Phase 1 : สำรวจปัจจัยสำคัญ (Research) 
1. รู้จักตัวเอง-กำหนดเป้าหมายและสำรวจความพร้อม
2 .เรียนรู้ผู้ใช้-ระบุกลุ่มผู้ใช้และศึกษาความต้องการ
3. ศึกษาคู่แข่ง-สำรวจการแข่งขันและการเรียนรู้คู่แข่ง 

สิ่งที่ได้รับ 
1. เป้าหมายหลักของเว็บ
2. ความต้องการของผู้ใช้
3 .กลยุทธ์ในการแข่งขัน 



Phase 2 : พัฒนาเนื้อหา (Site Content) 
4 .สร้างกลยุทธ์การออกแบบ
5 .หาข้อสรุปขอบเขตเนื้อหา
 
สิ่งที่ได้รับ 
1. แนวทางการออกแบบเว็บ
2. ขอบเขตเนื้อหาและการใช้งาน
3. ข้อมูลที่ถูกจัดอย่างเป็นระบบ 



Phase 3 : พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure) 
6. จัดระบบข้อมูล
7. จัดทำโครงสร้างข้อมูล
8. พัฒนาระบบเนวิเกชัน 

สิ่งที่ได้รับ 
1. แนวทางการออกแบบเว็บ
2. ขอบเขตเนื้อหาและการใช้งาน
3. ข้อมูลที่ถูกจัดอย่างเป็นระบบ 7 



Phase 4 : ออกแบบและพัฒนาหน้าเว็บ (Visual Design) 
9. ออกแบบลักษณะหน้าตาเว็บ
10. พัฒนาเว็บต้นแบบและข้อกำหนดสุดท้าย
 
สิ่งที่ได้รับ 
1. ลักษณะหน้าตาของเว็บ
2. เว็บต้นแบบที่จะใช้ในการพัฒนา
3. รูปแบบโครงสร้างของเว็บ
4. ข้อกำหนดในการพัฒนาเว็บ 



Phase 5 : พัฒนาและดำเนินการ (Production & Operation) 
11. ลงมือพัฒนาเว็บ
12. เปิดเว็บไซต์
13. ดูแลและพัฒนาต่อเนื่อ
ง 
สิ่งที่ได้รับ 
1. เว็บที่สมบูรณ์
2. เปิดตัวเว็บและทำให้เป็นที่รู้จัก
3. แนวทางการดูแลและพัฒนาต่อไป




ที่ 4   จัข้มูว็



ปัญหาความคลุมเครือของกลุ่มข้อมูล
การแบ่งข้อมูลต้องอาศัยพื้นฐานทางด้านภาษามาช่วยเพราะคำหนึ่งคำมีความหมายได้หลายอย่างในเหตุการณ์ต่างกัน
การแบ่งหมวกหมู่ในเว็บมักจะเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น หัวเรื่องหรือข้อความ 
ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะทำให้ทุกคนเข้าใจระบบการจัดกลุ่มข้อมูลที่เราได้ออกแบบไว้


การจัดลำดับความสำคัญของข้อมูล 
          ได้แก่   การจัดกลุ่มข้อมูลการกำหนดตำแหน่งของข้อมูลและเทคนิคที่ใช้นำเสนอผู้ออกแบบควรจัดกลุ่มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยรูปแบบการจัดกลุ่มข้อมูลอาจกระทำได้หลายลักษณะ

หลักการออกแบบโครงสร้างระบบข้อมูลแบบลำดับชั้น 
          ควรมีจำนวน บวกลบ รายการในเมนูที่มีจำนวนรายการมากกว่า 10 จะสร้างความรู้สึกว่ามากเกินไปส่วนความลึกไม่ควรเกิน 4-5 ชั้น  เพราะจะทำให้ผู้ใช้อาจหมดหวังและเลิกล้มความตั้งใจได้
 โครงสร้างระบบข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์
           มีลักษณะคล้ายเครือข่ายโยงใยโครงสร้างระบบนี้แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ  รายการ หรือกลุ่มข้อมูลที่ถูกลิงค์กับลิงค์ที่เชื่อมโยงข้อมูลเหล่านั้นส่วนใหญ่จึง มักนำระบบนี้มาใช้เป็นส่วนเสริมให้กับโครงสร้างข้อมูลแบบลำดับชั้น

โครงสร้างข้อมูลแบบฐานข้อมูล 
           มักนิยมใช้กับเว็บขนาดใหญ่ การนำระบบฐานข้อมูลมาใช้ในเว็บจะช่วยเพิ่มความสามารถในการค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง แต่เป็นเรื่องยากที่จะเอาข้อมูลทั้งหมดมาไว้ในฐานข้อมูล 




ที่ 9 ฟิสำรัว็ต์

รูปแบบกราฟฟิกสำหรับเว็บ

รูปแบบหลักมี 2 ประเภท คือ GIF และ JPG

GIF ย่อมาจากคำว่า Graphic Interchange Format
ได้รับความนิยมในยุคแรก
 มีระบบสีแบบ Index ซึ่งมีข้อมูลสีขนาด 8 บิต ทำให้มีสีมากสุด 256 สี
มีการบีบอัดข้อมูลตามแนวของพิกเซล เหมาะสำหรับกราฟฟิกที่ประกอบด้วยสีพื้น


JPG ย่อมาจากคำว่า Joint Photographic Experst Group
 มีข้อมูลสีขนาด 24 บิต (True Color) สามารถแสดงสีได้ถึง 16.7ล้านสี
 ใช้ระบบการบีบอัดที่มีลักษณะที่สูญเสีย (lossy)
ไฟล์ประเภทนี้ควรนำไปใช้กับรูปถ่ายหรือกราฟฟิกที่มีการไล่ระดับสีอย่างละเอียดระบบการวัดความละเอียดของรูปภาพ
 ระบบการวัดความละเอียดของรูปภาพที่แสดงผลบนมอนิเตอร์ควรใช้หน่วย pixel por inch (ppi)
การใช้งานจะนำหน่วย dor per inch (dpi) ซึ่งเป็นหน่วยวัดความละเอียดของสิ่งพิมพ์มาใช้งานแทน ppi
 ความละเอียดของรูปภาพที่ใช้ในเว็บไซต์ควรมีความละเอียดแค่ 72 ppi


โปรแกรมกราฟฟิกสำหรับเว็บ

ปัจจุปันมีโปรแกรมหลายประเภทที่นำมาใช้ในการสร้างกราฟฟิกสำหรับเว็บ
 

 Adobe PhotoShop

 Adobe ImageReady

 Firework